23 มิ.ย. 2565
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศผ่อนคลายสวมหน้ากากอนามัย โดยความสมัครใจ มีผลทันที หลังการระบาดของเชื้อโควิด-19 คลี่คลายลงและมีแนวโน้มที่ดีขึ้น
13 ก.ค. 2564
เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชุดตรวจและน้ำยาที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยการติดเชื้อ SARS CoV-2 (เชื้อก่อโรค COVID-19) แบบตรวจหาแอนติเจนด้วยตนเอง (COVID-19 Antigen test self-test kits) พ.ศ. 2564 ประกาศโดยนายอนุทิน ชาญวีรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2564
11 ก.ค. 2564
สปสช.เคลียร์ผู้ป่วยโควิดรอเตียงในระบบสายด่วน 1330 กว่า 2,500 ราย เข้ารับการรักษาที่บ้านหรือที่ชุมชน ภายใต้การดูแลของคลินิกชุมชนอบอุ่น ชี้แนวทางนี้ทำให้ผู้ติดเชื้อเข้าระบบการดูแลรักษาเร็วขึ้น ไม่ต้องรอเตียงนานหลายวันจนเสี่ยงที่อาการจะทรุดลง
27 มิ.ย. 2564
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศปิดแคมป์ก่อสร้าง 30 วัน ร้านอาหาร ห้ามนั่งกินในร้าน ซื้อกลับบ้านเท่านั้น งดประชุม สัมมนา กิจกรรมทางสังคม ห้ามรวมกลุ่มเกิน 20 คน
12 มิ.ย. 2564
"ไช่อิงเหวิน" ประธานาธิบดีไต้หวัน ให้สัมภาษณ์สื่อวิทยุท้องถิ่นกรณีวัคซีนแอสตร้าเซเนก้าจากโรงงานในไทย ส่งมอบให้ "ไทเป" ล่าช้ากว่ากำหนด
8 มิ.ย. 2564
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
28 พ.ค. 2564
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ แถลงแนวทางการจัดสรรและนำเข้าวัคซีนทางเลือก "ซิโนฟาร์ม" เผยนำเข้ามา 1 ล้านโดส ภายในเดือนมิถุนายน 2564 เบื้องต้นยังไม่กำหนดราคา สามารถฉีดได้ตั้งแต่อายุ 18 ปีขึ้นไป และในผู้สูงอายุ
27 พ.ค. 2564
ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจากการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) พ.ศ. 2564
14 พ.ค. 2564
กระทรวงสาธารณสุข เปิดโรงพยาบาลบุษราคัม สำหรับรองรับผู้ป่วยโควิดสีเหลืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รับผู้ป่วยเบื้องต้นได้ 1,200 พันเตียง ขยายเพิ่มได้ 5,000 พันเตียง
24 เม.ย 2564
เว้นมีเหตุจำเป็นหลีกเลี่ยงไม่ได้ ! ผู้ว่าฯ นนทบุรี ออกประกาศขอความร่วมมือประชาชน งดออกนอกบ้านหลังเวลา 21.00 น.- 04.00 น. บังคับใส่แมสก์ ฝ่าฝืนปรับ 20,000 บาท ภาครัฐ ห้ามดื่มแอลกอฮอล์ ยกเว้นภายในครอบครัว เอกชนให้ทำงานที่บ้าน ห้ามทำกิจกรรมมีการรวมกลุ่มกันมากกว่า 10 คนขึ้นไป
13 เม.ย 2564
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกรณีติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดนนทบุรี
13 เม.ย 2564
สำหรับใช้กับผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค หรือผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันที่มีอาการไม่รุนแรงและมีลักษณะดังต่อไปนี้
2 มี.ค. 2564
คปภ. “อนุมัติแบบฟาสแทร็ก” กรมธรรม์ประกันภัยแพ้วัคซีนป้องกันโควิด-19 รองรับความเสี่ยงให้กับประชาชน หากเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
21 ม.ค. 2564
อย.ขึ้นทะเบียนวัคซีนโควิดของ ‘แอสตร้าเซนเนก้า’ อายุใบอนุญาต 1 ปี
9 ม.ค. 2564
รายชื่อจังหวัดที่พบผู้ติดเชื้อ "โควิด-19" ระบาดระลอกใหม่ ตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2563 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2564 ล่าสุดพุ่ง 58 จังหวัดแล้ว
9 ม.ค. 2564
อธิบดีกรมควบคุมโรค แถลงสถานการณ์ COVID-19 ชี้สถิติการระบาดระลอกใหม่ในประเทศไทย ตั้งแต่กลางเดือนธันวาคม ส่งผลให้มียอดผู้ติดเชื้อสูงถึงเกือบ 6,000 คน และเสียชีวิต 7 คน พร้อมเผยข่าวดียอดคนหายป่วยรายวันแซงผู้ติดเชื้อใหม่ชัดเจน เนื่องจากผู้ป่วยใหม่อาการน้อย
9 ม.ค. 2564
เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคำสั่ง โหลด “หมอชนะ-ไทยชนะ” ป้องกันโควิด ภายใต้ข้อกำหนดของ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
8 ม.ค. 2564
นายกฯ ลงนามคำสั่ง ศบค.ที่ 1/2564 กำหนด 28 จังหวัดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน มีผลตั้งแต่พรุ่งนี้
8 ม.ค. 2564
“พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา” ลงนามในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ฉบับ 17 มุ่งระงับยับยั้งโควิด-19 แพร่ระบาดเป็นกลุ่มก้อนอย่างรวดเร็วและเด็ดขาด ฝ่าฝืนมีโทษคุก 2 ปี ปรับ 40,000 บาท มีผลวันที่ 7 มกราคม 2564
8 ม.ค. 2564
"ราชกิจจานุเบกษา" เผยแพร่ข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ฉบับที่ 16 กำหนดมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส "โควิด-19" ระลอกใหม่